วันเสาร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2554

นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์

ชื่อสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์   :  เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง (  Visualizer    Sufficiency )

  เจ้าของผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์
1. ชื่อ     เด็กหญิงธนัญญา                                นามสกุล               จันทวัง
สัญชาติ                  ไทย                        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3      อายุ 14  ปี
2. ชื่อ     เด็กหญิงปภาวรินทร์                           นามสกุล               แนบเนียร
สัญชาติ                  ไทย                        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3      อายุ 15  ปี
โรงเรียนปงพัฒนาวิทยาคม               ตำบลงิม
อำเภอปง               จังหวัดพะเยา       รหัสไปรษณีย์       56140
อีเมล์   pongppk @ gmail.com   โทรศัพท์  054448356   โทรสาร.054448359

    ครูที่ปรึกษา
1. นายเกรียงศักดิ์  ยอดสาร
                                2. นางสาวศรีรัตนา   อุ่นเมือง
โรงเรียนปงพัฒนาวิทยาคม               ตำบลงิม
อำเภอปง               จังหวัดพะเยา       รหัสไปรษณีย์       56140
อีเมล์   pongppk @ gmail.com   โทรศัพท์  054448359   โทรสาร.054448359

บทคัดย่อ
       เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง (  Visualizer    Sufficiency ) เป็นเครื่องมือที่ประดิษฐ์ขึ้น โดยใช้วัสดุเหลือใช้ ที่ได้จากชุมชน  โดยมีหลักการทางวิทยาศาสตร์คือการฉายภาพวัตถุทึบแสงได้  และมีขั้นตอนการประดิษฐ์และทดลองคือตอนที่ 1 เพื่อหานำวัสดุเหลือใช้ มาประดิษฐ์เป็นเป็นเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง ) ได้หรือไม่    ตอนที่ 2 ทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของ เครื่อง Visualizer Sufficiency
(  เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )   ว่าสามารถทำงานได้ใกล้เคียงกับของที่ขายตามศูนย์รวมเทคโนโลยีทั่วไปหรือไม่   จากการทดลองพบว่า       เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง (  Visualizer    Sufficiency )
วัสดุเหลือใช้ มาประดิษฐ์เป็นเป็นเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง ) ได้และ
สามารถทำงานได้ใกล้เคียงกับของที่ขายตามศูนย์รวมเทคโนโลยีทั่วไปอีกทั้งยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย โดยไม่ต้องจัดหาเครื่องในราคาแพงสามารถปรับกำลังขยายได้และนำเครื่องต้นแบบมาศึกษา ทดลอง ประดิษฐ์โดยใช้ต้นทุนน้อย  ช่วยลดขยะโดยการนำเอาเศษวัสดุที่เหลือใช้มาก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรียนสามารถการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และได้ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าเพิ่มระดับความรู้ของตนเอง    ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ความเป็นมา/แนวคิด/แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน
ในปัจจุบันเทคโนโลยีเป็นที่ต้องการในการเป็นเครื่องมือในการประกอบการเรียนการสอน แต่ราคาแพง สถานศึกษาและชุมชนห่างไกล มีงบประมาณไม่เพียงพอที่  จะจัดซื้อเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่มีราคาแพง เพื่ออำนวยความสะดวกในการเผยแพร่ความรู้และเป็นเครื่องมือในการประกอบการเรียนการสอน คณะผู้จัดทำได้คิดค้น ทดลอง ประดิษฐ์ เครื่อง Visualizer Sufficiency    ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง ) ที่มีต้นทุนในการประดิษฐ์ถูกโดยประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้และที่หาซื้อได้ง่ายตามศูนย์เทคโนโลยีทั่วไป
วัตถุประสงค์
จุดประสงค์การศึกษา
1. เครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง ) สามารถ แสดงภาพโดยการฉาย วัตถุ 3 มิติ เอกสาร ได้ชัดแม้แต่ภาพขนาดเล็ก สามารถปรับกำลังขยายได้โดยใช้กล้องที่ปรับกำลังขยายได้ได้ภายในตัว แสดงภาพจากเครื่อง Visualizerไปยังบนโทรทัศน์ หรือเอส-วิดิโอ      ( s-video) โปรเจคเตอร์ ( projector )
2.  เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง ) กับ เครื่อง Visualizer ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง ) ที่ขายตามศูนย์เทคโนโลยีทั่วไปในด้านต่างๆ
3.   เพื่อช่วยลดขยะโดยการนำเอาเศษวัสดุที่เหลือใช้มาก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
วัสดุที่ใช้
1. วัสดุที่นำมาใช้สร้างเครื่อง Visualizer sufficiency
1.             ไม้ไผ่ เส้นผ่านศูนย์กลาง   1.5 นิ้ว   ยาว  10  เซนติเมตร
2.             กล้องวงจรปิด แบบมินิรุ่น  Radio AV     RECIVER
3.             ตัวส่งสัญญาณ Wirress
4.             สวิตซ์ไฟ
5.             สายไฟ
2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำเครื่อง Visualizer sufficiency
1.             เลื่อยตัดไม้ไผ่
2.             เครื่องมือเจาะรูไม้ไผ่
3.             กาวติดไม้ไผ่
4.             ตลับเมตร
5.             เครื่องวัดไฟฟ้า
6.             แปลงทาสี
7.             กระดาษทราย
8.              อุปกรณ์ในการบัดกรี
งบประมาณ
          
รายการวัสดุที่ใช้ในการประดิษฐ์
แหล่งที่มา
หมายเหตุ
1. แผ่นไม้ขนาด  25 cm x 40 cm
2.เสาไม้ไผ่ยาว 10 cm เส้นผ่านศูนย์กลาง  1.5 นิ้ว
3.เสาไม้  ยาว   15 cm
4. คานไม้ ยาว  15 cm
5.ชุดกล้องวงจรปิดพร้อมเครื่องส่งสัญญาณ Wirress
6.แบตเตอรี 9 A  1 ก้อน
เศษไม้เหลือทิ้งจากชุมชน
ป่าชุมชน

เศษไม้เหลือทิ้งจากชุมชน
เศษไม้เหลือทิ้งจากชุมชน
ซื้อจากร้านค้าอิเล็กทรอนิค






1,350   บาท

          25  บาท
                                   รวม
1,375  บาท


ขั้นตอนการผลิตสิ่งประดิษฐ์ฯ และวิธีใช้
ตอนที่ 1
           ทดลองเพื่อหาว่าวัสดุเหลือใช้สามารถนำมาประดิษฐ์เป็นเครื่องVisualizer Sufficiency 
          ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง)
1.             ค้นหาข้อมูลเบื้องต้นของเครื่อง Visualizer  ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง )   
2.             ออกแบบเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )   
3.             ค้นหาวัสดุที่จะประดิษฐ์จากศูนย์ขายเทคโนโลยีทั่วไป
4.             เริ่มทำการประดิษฐ์เครื่อง Visualizer Sufficiency(เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )
5.              บันทึก และสรุปผลการทดลองเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )  
ตอนที่ 2
          ทดลองเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )   ว่าสามารถทำงานได้ใกล้เคียงกับของที่ขายตามศูนย์รวมเทคโนโลยีทั่วไป
1.             เปรียบเทียบความคมชัด
2.             เปรียบเทียบเวลาการใช้งาน
3.             เปรียบเทียบราคา
4.              บันทึกและสรุปผลการทดลองของเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )
ตอนที่ 1 เพื่อหานำวัสดุเหลือใช้ มาประดิษฐ์เป็นเป็นเครื่อง Visualizer Sufficiency
           ทดลองเพื่อหาว่าวัสดุเหลือใช้สามารถนำมาประดิษฐ์เป็นเครื่องVisualizer Sufficiency   ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง)
1.             ค้นหาข้อมูลเบื้องต้นของเครื่อง Visualizer  ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง )   
2.             ออกแบบเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )   
3.             ค้นหาวัสดุที่จะประดิษฐ์จากศูนย์ขายเทคโนโลยีทั่วไป
4.             เริ่มทำการประดิษฐ์เครื่อง Visualizer Sufficiency(เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )
5.              บันทึก และสรุปผลการทดลองเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )  
 1. วัสดุที่นำมาใช้สร้างเครื่อง Visualizer sufficiency
1.             ไม้ไผ่ เส้นผ่านศูนย์กลาง   1.5 นิ้ว   ยาว  10  เซนติเมตร
2.             กล้องวงจรปิด แบบมินิรุ่น  Radio AV     RECIVER
3.             ตัวส่งสัญญาณ Wirress
4.             สวิตซ์ไฟ
5.             สายไฟ

2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำเครื่อง Visualizer sufficiency
1.             เลื่อยตัดไม้ไผ่
2.             เครื่องมือเจาะรูไม้ไผ่
3.             กาวติดไม้ไผ่
4.             ตลับเมตร
5.             เครื่องวัดไฟฟ้า
6.             แปลงทาสี
7.             กระดาษทราย
8.    อุปกรณ์ในการบัดกรี

3.ขั้นตอนและวิธีการทำ เครื่อง Visualizer Sufficiency( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )
       3.1 ออกแบบเครื่อง เครื่อง Visualizer Sufficiency( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง ) 
       3.2  ตัดไม้ไผ่ และไม้ ให้ได้ตามที่กำหนด   
                 (1 ) เสาสูงขนาด 30 เซนติเมตร 1  เสา   เจาะรู  เพื่อปรับระดับ          
                 (2 ) คานยาว 15 เซนติเมตร 1คาน
                ( 3  ) เสาไม้ไผ่  1 เสา  ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 นิ้ว   ยาว  10  เซนติเมตร
                ( 4 ) กะลามะพร้าวผ่า1/4   ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เซนติเมตร   เจาะรูด้านบนเพื่อต่อกับสายไฟ (กรณีเสียบไฟฟ้า กล้อง                                                                                                             
               ( 5 ) จัดทำฐานเครื่อง  Visualizer Sufficiency 
    3.3 นำฐานของเครื่อง Visualizer Sufficiency   มาต่อเข้ากับอุปกรณ์                                                            

ตอนที่ 2
  ทดลองเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )   ว่าสามารถทำงานได้ใกล้เคียงกับของที่ขายตามศูนย์รวมเทคโนโลยีทั่วไป
1.             เปรียบเทียบความคมชัด
2.             เปรียบเทียบเวลาการใช้งาน
3.             เปรียบเทียบราคา
4.              บันทึกและสรุปผลการทดลองของเครื่อง Visualizer Sufficiency ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )
 ตารางที่  1   เปรียบเทียบความคมชัดของเครื่อง Visualizer Sufficiency  (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )
                      กับ  เครื่อง Visualizer  ที่ขายตามท้องตลาด  
      
ครั้งที่เปลี่ยนวัตถุทดลอง
เครื่อง Visualizer
เครื่อง Visualizer Sufficiency
ครั้งที่ 1

คมชัด
คมชัด
ครั้งที่ 2

คมชัด
คมชัด
ครั้งที่ 3

คมชัด
คมชัด

ตารางที่  2    เปรียบเทียบระยะเวลาการใช้งานของเครื่อง Visualizer Sufficiency
                    ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )กับ  เครื่อง Visualizer  ที่ขายตามท้องตลาด  

ระเวลาที่เปิดทิ้งไว้ ( ชั่วโมง )
เครื่อง Visualizer
เครื่อง Visualizer Sufficiency
30 นาที

ยังทำงานปกติ
ยังทำงานปกติ
60 นาที

ยังทำงานปกติ
ยังทำงานปกติ
90 นาที

ยังทำงานปกติ
ยังทำงานปกติ

ตารางที่  3     เปรียบเทียบราคาของเครื่อง Visualizer Sufficiency
                    ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง )กับ  เครื่อง Visualizer  ที่ขายตามท้องตลาด  

เครื่องฉายภาพ
รายการ
ราคา
ราคารวม
เครื่อง Visualizer
ราคารวมชุดอุปกรณ์
                25,000
25,000
เครื่อง Visualizer Sufficiency
1. เครื่องส่งสัญญาณ
    พร้อมกล้องวงจรปิด
2. แบตเตอรี  9  V  1 ก้อน

1,350

25
1,375

วัสดุที่ใช้ในการประดิษฐ์คิดค้นและแหล่งที่มา

รายการวัสดุที่ใช้ในการประดิษฐ์
แหล่งที่มา
หมายเหตุ
1. แผ่นไม้ขนาด  25 cm x 40 cm
2.เสาไม้ไผ่ยาว 10 cm เส้นผ่านศูนย์กลาง  1.5 นิ้ว
3.เสาไม้  ยาว   15 cm
4. คานไม้ ยาว  15 cm
5.ชุดกล้องวงจรปิดพร้อมเครื่องส่งสัญญาณ Wirress
เศษไม้เหลือทิ้งจากชุมชน
ป่าชุมชน

เศษไม้เหลือทิ้งจากชุมชน
เศษไม้เหลือทิ้งจากชุมชน
ซื้อจากร้านค้าอิเล็กทรอนิค



หลักการทำงาน
                                  เครื่องVisualizer Sufficiency   ( เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง)    ใช้หลักการฉายภาพของกล้องวงจรปิด โดยถ่ายทอดสัญญาณ  Wirress  โดยต่อเข้ากับกล้องวงจรปิดไร้สาย สามารถถ่ายทอดสัญญาณภาพจากต้นกำเนิดวัตถุได้ใกล้เคียงกับภาพจากเครื่องฉายภาพที่มีขายตามท้องตลาด

ขนาด/น้ำหนักสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ฯ
     น้ำหนักเครื่อง Visualizer Sufficiency   พร้อมชุดส่งสัญญาณ   หนัก   2 .5 กิโลกรัม

ภาคผนวก
ภาพสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสเครื่องภาพวัตถุทึบแสงแบบพอเพียง



   

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น